วิธีบรรเทาอาการเจ็บข้อเท้า กับ การเลือกใช้เครื่องออกกำลังกายฟื้นฟูสภาพอย่างถูกต้อง
อาการข้อเท้าแพลง สามารถเกิดได้ในชีวิตประจำวันทั่วไป อาจจะเกิดจากการเดินผิดท่า ใส่รองเท้าส้นสูงเกิดพลิกล้ม หรือเกิดจากการออกกำลังกายแทบจะทุกประเภท ที่มีเปอร์เซ็นการเกิดอาการบาดเจ็บโดยเฉพาะเรื่องของข้อเท้าแพลง ข้อเท้าพลิกค่อนข้างสูง
การใช้งานเครื่องออกกำลังกาย หรือการเล่นกีฬา หากคุณใช้งานอย่างไม่ระวัง หรือใช้งานอย่างไม่ถูกต้อง อาจเกิดอาการเจ็บปวดข้อเข่า และข้อเท้าอย่างแน่นอน ยิ่งในคนที่มีน้ำหนักมาก จะยิ่งเสี่ยงต่ออาการเจ็บปวดมากกว่า เนื่องจากร่างกายจะมีแรงกระแทกจากการใช้งานเครื่องออกกำลังกาย
โดยทั่วไปแล้ว ความรุนแรงของอาการเจ็บข้อเข่า ข้อขา สามารถแบ่งความรุนแรงออกเป็น 3 ระดับ โดยแบ่งจากความนหักเบาของอาการปวด เริ่มจากระดับแรก…
ระดับที่ไม่รุนแรง เป็นอาการปวดที่เกิดจากเส้นเอ็นหรือเนื้อเยื่อรอบๆเท้ามีควมตึง เนื่องจากถูกแรงดุงที่เกิดจากการเคลื่อนไหวแรงเกินไป แต่ไม่ได้มีอาการฉีกขาดของเนื้อเยื่อหรือเส้นเอ็นนะ อาการจะปวดบวมเล็กน้อย ไม่มากเท่าไหร่
อาการระดับปานกลาง จะมีการฉีดขาดเสียหายของเส้นเอ็นหรือเนื้อเยื่อรอบๆเท้า บ้างเป็นบางส่วน ส่วนมากพบการบาดเจ็บที่ด้านข้างส่วนนอกของเท้าข้างๆ ตาตุ่ม มีอาการบวม อันเกิดจากเลือดคั่ง
อาการระดับรุนแรง คือมีการฉีกขาดของเส้นเอ็นข้อเท้ด้านนอกทั้งหมด เส้นเอ็นส่วนนี้มีจำนวน 3 เส้นด้วยกัน ทำหน้าที่ยึดเท้าช่วยในการทรงตัวใหห้มั่นคง อาการระดับนี้ จะปวดบวมมาก มีเลือดคั่ง ต้องรักษาด้วยการผ่าตัด และพกผ่อนร่างกายไปยาวๆเลยทีเดียว
หากคุณเล่นกีฬาหรือใช้งานเครื่องออกกำลังกายแล้วมีอาการบาดเจ็บ เบื้องต้นควรรีบปฐมพยาบาลปประคบเย็นกันก่อน วางตรงจุดที่บาดเจ็บ เพื่อหยุดเลือกจากแผลฉีดขาดภายในเอาไว้ และลดความเสียกายของเนื้อเยื่อที่เท้า สามารถประคบได้นานจนเท้าในส่วนนั้นมีความรู้สึกชา ประมาณ 15-20 นาที
ทำซ้ำทุกๆ 3-4 ชั่วโมง เป็นเวลา 2 วัน ใช้ผ้าพันเอาไว้เพื่อยึดไม่ให้ข้อเท้ามีการเคลื่อนไหว และพยายามนอนยกเท้าให้สูงเข้าไว้ หากมีอาการปวดมาก ควรไปพบแพทย์
การรักษาอาการเจ็บปวดข้อเท้า มีตั้งแต่ระดับรุนแรง ต้องผ่าตัดเพื่อรักษา ไปจนถึงการบำบัด หรือการใช้ยา โดยในช่วงที่คุณมีอาการเจ็บปวด แนะนำให้ยกเลิกโปรแกรมการออกกำลังกายทั้งหมด เพื่อรักษาข้อเท้าของเราให้หยาดีเสียก่อน เพราะหากคุณฝืนร่างกาย การรักษาอาจจะกินเวลายาวนานหลายเดือนกว่าจะหาย หรือแย่ที่สุดคือ อาการหนักมากกว่าเดิม
หลังจากที่คุณได้รับการรักษาแล้ว มีอาการดีขึ้นมาแล้ว ก็สามารถเริ่มกลับมาออกกำลังกายได้ แต่… ควรมีการออกกำลังกายเพื่อยืดกล้ามเนื้อก่อน เพราะในขณะที่เราบาดเจ็บ ร่างกายไม่ได้เคลื่อนไหวมานาน อาจจะเกิดพังผืด
ในช่วงแรงการออกกำลังกาย จะต้องเลือกเครื่องออกกำลังกายที่ไม่มีแรงกระแทก อย่าพวกจักรยานออกกำลังกาย หรือลู่เดินวงรี เพื่อป้องกันการซ้ำเติมอาการเดิมค่ะ
ภาพจาก blesk.cz
ความรุนแรงของอาการเจ็บข้อ
โดยทั่วไปแล้ว ความรุนแรงของอาการเจ็บข้อเข่า ข้อขา สามารถแบ่งความรุนแรงออกเป็น 3 ระดับ โดยแบ่งจากความนหักเบาของอาการปวด เริ่มจากระดับแรก…
ระดับที่ไม่รุนแรง
ระดับที่ไม่รุนแรง เป็นอาการปวดที่เกิดจากเส้นเอ็นหรือเนื้อเยื่อรอบๆเท้ามีควมตึง เนื่องจากถูกแรงดุงที่เกิดจากการเคลื่อนไหวแรงเกินไป แต่ไม่ได้มีอาการฉีกขาดของเนื้อเยื่อหรือเส้นเอ็นนะ อาการจะปวดบวมเล็กน้อย ไม่มากเท่าไหร่
ระดับปานกลาง
อาการระดับปานกลาง จะมีการฉีดขาดเสียหายของเส้นเอ็นหรือเนื้อเยื่อรอบๆเท้า บ้างเป็นบางส่วน ส่วนมากพบการบาดเจ็บที่ด้านข้างส่วนนอกของเท้าข้างๆ ตาตุ่ม มีอาการบวม อันเกิดจากเลือดคั่ง
ระดับรุนแรง
อาการระดับรุนแรง คือมีการฉีกขาดของเส้นเอ็นข้อเท้ด้านนอกทั้งหมด เส้นเอ็นส่วนนี้มีจำนวน 3 เส้นด้วยกัน ทำหน้าที่ยึดเท้าช่วยในการทรงตัวใหห้มั่นคง อาการระดับนี้ จะปวดบวมมาก มีเลือดคั่ง ต้องรักษาด้วยการผ่าตัด และพกผ่อนร่างกายไปยาวๆเลยทีเดียว
เกิดอาการปวดแล้วทำยังไง?
หากคุณเล่นกีฬาหรือใช้งานเครื่องออกกำลังกายแล้วมีอาการบาดเจ็บ เบื้องต้นควรรีบปฐมพยาบาลปประคบเย็นกันก่อน วางตรงจุดที่บาดเจ็บ เพื่อหยุดเลือกจากแผลฉีดขาดภายในเอาไว้ และลดความเสียกายของเนื้อเยื่อที่เท้า สามารถประคบได้นานจนเท้าในส่วนนั้นมีความรู้สึกชา ประมาณ 15-20 นาที
ทำซ้ำทุกๆ 3-4 ชั่วโมง เป็นเวลา 2 วัน ใช้ผ้าพันเอาไว้เพื่อยึดไม่ให้ข้อเท้ามีการเคลื่อนไหว และพยายามนอนยกเท้าให้สูงเข้าไว้ หากมีอาการปวดมาก ควรไปพบแพทย์
การรักษา
การรักษาอาการเจ็บปวดข้อเท้า มีตั้งแต่ระดับรุนแรง ต้องผ่าตัดเพื่อรักษา ไปจนถึงการบำบัด หรือการใช้ยา โดยในช่วงที่คุณมีอาการเจ็บปวด แนะนำให้ยกเลิกโปรแกรมการออกกำลังกายทั้งหมด เพื่อรักษาข้อเท้าของเราให้หยาดีเสียก่อน เพราะหากคุณฝืนร่างกาย การรักษาอาจจะกินเวลายาวนานหลายเดือนกว่าจะหาย หรือแย่ที่สุดคือ อาการหนักมากกว่าเดิม
อาการดีขึ้นแล้วออกกำลังกายเลยได้ไหม ?
หลังจากที่คุณได้รับการรักษาแล้ว มีอาการดีขึ้นมาแล้ว ก็สามารถเริ่มกลับมาออกกำลังกายได้ แต่… ควรมีการออกกำลังกายเพื่อยืดกล้ามเนื้อก่อน เพราะในขณะที่เราบาดเจ็บ ร่างกายไม่ได้เคลื่อนไหวมานาน อาจจะเกิดพังผืด
ในช่วงแรงการออกกำลังกาย จะต้องเลือกเครื่องออกกำลังกายที่ไม่มีแรงกระแทก อย่าพวกจักรยานออกกำลังกาย หรือลู่เดินวงรี เพื่อป้องกันการซ้ำเติมอาการเดิมค่ะ
Post a Comment