ถึงเวลาปรับความหนักการใช้ “เครื่องออกกำลังกาย” เพราะอาการมันฟ้องน่ะสิ !
การออกกำลังกาย เป็นเรื่องที่ดีต่อสุขภาพ แต่อย่างไรก็ตาม การออกกำลังกายที่หนักหน่วง หักโหมจนเกินร่างกายจะรับไหว ผลลัพธ์จะกลับกลายเป็นสิ่งตรงกันข้าม จากที่ร่างกายควรจะแข็งแรงมากขึ้น กลายเป็นอ่อนแอลงสะงั้น !
การออกกำลังกาย ไม่ว่าจะเป็นการเล่นกีฬา หรือใช้เครื่องออกกำลังกาย Fitness ล้วนแล้วแต่สามารถช่วยเราได้ในเรื่องของสุขภาพความแข็งแรงของร่างกาย อีกทั้งยังช่วยรักษารูปร่างที่กระชับ เพิ่มสมรรถภาพความอึดถึกทน ให้กับร่างกายของเรามากขึ้นอีกด้วย
แต่อย่างไรก็ตาม การออกกำลังกายควรเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป เริ่มจากช้าๆ เบาๆ แค่ทำอย่างต่อเนื่อง และเป็นประจำ เช่น เราควรออกกำลังกายอย่างน้อย 3-4 วันต่อสัปดาห์ วันละอย่างน้อย 30-45 นาที
การโหมออกกำลังกายภายใน 1 วันต่ออาทิตย์ เป็นการออกกำลังกายที่เข้มข้น และได้ออกแรงอย่างเต็มที่ แต่ก็เสี่ยงที่จะเกิดอาการบาดเจ็บและบางทีอาจไปกระตุ้นให้อาการของโรคประจำตัวกำเริบได้อีกด้วย ดังนั้นควรออกกำลังกายหลายๆวัน จะปลอดภัยมากกว่าค่ะ
แน่นอนว่าทุกคนคงทราบกันแล้วว่า การหักโหมออกกำลังกายเกินกำลังของร่างกายเราเองนั้น จะส่งผลเสียต่อสุขภาพเราเอง แต่เราจะรู้ได้อย่างไรล่ะว่า ขีดจำกัดของเรากายเราอยู่ไหนไหน แบบไหนเรียกว่าเรา “หักโหม” และแบบไหนที่เรียกว่า “เต็มที่”
เพราะบางทีมันก็แยกแยะลำบากล่ะเนอะ ออกกำลังกายแบบเพลินๆ มารู้ตัวอีกทีก็เลยขีดจำกัดร่างกายไปแล้ว หรือบางทีก็แอบไม่แน่ใจว่าที่ออกกำลังกายอยู่ มันพอเหมาะพอดีกับร่างกายเราหรือยัง เพราะสภาพร่างกายของแต่ละคนก็มีศักยภาพแตกต่าง จึงตอบได้ไม่แน่ชัดว่าลิมิตของเราอยู่ที่เท่าใด
วิธีการดูว่า เราออกกำลังกายหักโหมเกินไปหรือยัง? สามารถตรวจสอบได้ด้วยตัวคุณเองค่ะ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือแพทย์ที่ทันสมัย หรือเครื่องอะไรมาคอยวัดตัวเรา เพียงแค่สังเกตุอาการที่แสดงออกมาของร่างกาย ในข๊ะเล่นกีฬาหรือใช้งานเครื่องออกกำลังกาย ก็สามารถตอบได้แล้วล่ะ !
และนี่เป็นพิธีตรวจสอบด้วยตัวเองว่าเราออกกำลังกายมากเดินสมรรถภาพของตัวเราเองหรือไม่ ขอให้ปรับลักษณะการออกกำลังกาย หรือใช้เครื่องออกกำลังกายให้เบาลงสักหน่อย เพื่อให้เหมาะสม และค่อยๆเพิ่มระดับขึ้นไปเมื่อร่างกายพร้อม แบบนี้จะดีกว่าและทำให้ร่างกายของเราแข็งแรงขึ้นมีสมรรถภาพสูงขึ้น ช้าๆ แต่แน่นอน
ภาพจาก Guy Counseling
แต่อย่างไรก็ตาม การออกกำลังกายควรเป็นไปอย่างค่อยเป็นค่อยไป เริ่มจากช้าๆ เบาๆ แค่ทำอย่างต่อเนื่อง และเป็นประจำ เช่น เราควรออกกำลังกายอย่างน้อย 3-4 วันต่อสัปดาห์ วันละอย่างน้อย 30-45 นาที
โหมออกในวันเดียวไม่ได้หรือ ?
การโหมออกกำลังกายภายใน 1 วันต่ออาทิตย์ เป็นการออกกำลังกายที่เข้มข้น และได้ออกแรงอย่างเต็มที่ แต่ก็เสี่ยงที่จะเกิดอาการบาดเจ็บและบางทีอาจไปกระตุ้นให้อาการของโรคประจำตัวกำเริบได้อีกด้วย ดังนั้นควรออกกำลังกายหลายๆวัน จะปลอดภัยมากกว่าค่ะ
ภาพจาก HuffPost UK
ขีดจำกัดร่างกายอยู่ที่จุดไหน ?
แน่นอนว่าทุกคนคงทราบกันแล้วว่า การหักโหมออกกำลังกายเกินกำลังของร่างกายเราเองนั้น จะส่งผลเสียต่อสุขภาพเราเอง แต่เราจะรู้ได้อย่างไรล่ะว่า ขีดจำกัดของเรากายเราอยู่ไหนไหน แบบไหนเรียกว่าเรา “หักโหม” และแบบไหนที่เรียกว่า “เต็มที่”
เพราะบางทีมันก็แยกแยะลำบากล่ะเนอะ ออกกำลังกายแบบเพลินๆ มารู้ตัวอีกทีก็เลยขีดจำกัดร่างกายไปแล้ว หรือบางทีก็แอบไม่แน่ใจว่าที่ออกกำลังกายอยู่ มันพอเหมาะพอดีกับร่างกายเราหรือยัง เพราะสภาพร่างกายของแต่ละคนก็มีศักยภาพแตกต่าง จึงตอบได้ไม่แน่ชัดว่าลิมิตของเราอยู่ที่เท่าใด
วิธีดูว่าออกกำลังกายหักโหมเกินไปหรือไม่ ?
วิธีการดูว่า เราออกกำลังกายหักโหมเกินไปหรือยัง? สามารถตรวจสอบได้ด้วยตัวคุณเองค่ะ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือแพทย์ที่ทันสมัย หรือเครื่องอะไรมาคอยวัดตัวเรา เพียงแค่สังเกตุอาการที่แสดงออกมาของร่างกาย ในข๊ะเล่นกีฬาหรือใช้งานเครื่องออกกำลังกาย ก็สามารถตอบได้แล้วล่ะ !
- หากคุณรู้สึกว่าหัวใจเต้นแรง และดังอยู่ในอก หรือมีอาการเจ็บร่วม เป็นอาการฟ้องว่าคุณออกกำลังกายหนักเกินไป
- หากคุณหายใจไม่ทัน ต้องหายใจทางปากช่วย ทดสอบง่ายๆ คือ เราไม่สามารถพูดคุย หรือร้องเพลงในขณะออกกำลังกายได้
- รู้สึกมึนๆ หรือมีอาการหน้ามืด ถ้ามีอาการแบบนี้ให้หยุดออกกำลังกายช้าๆ แล้วนั่งลงช้าๆ เพราะเรากำลังมีอาการเลือด หรือออกซิเจนไปเลี้ยงสมองไม่พอ อาจจะทำให้หมดสติหรือเป็นลมได้
และนี่เป็นพิธีตรวจสอบด้วยตัวเองว่าเราออกกำลังกายมากเดินสมรรถภาพของตัวเราเองหรือไม่ ขอให้ปรับลักษณะการออกกำลังกาย หรือใช้เครื่องออกกำลังกายให้เบาลงสักหน่อย เพื่อให้เหมาะสม และค่อยๆเพิ่มระดับขึ้นไปเมื่อร่างกายพร้อม แบบนี้จะดีกว่าและทำให้ร่างกายของเราแข็งแรงขึ้นมีสมรรถภาพสูงขึ้น ช้าๆ แต่แน่นอน
Post a Comment